วันจันทร์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

บทที่10. กฎหมายและจริยธรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทที่10. กฎหมายและจริยธรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ


"กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ"
โดยคณะกรรมการสารสนเทศแห่งชาติ กสทช ได้ทำการศึกษาและยกร่างกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ 6ฉบับ ได้แก่ กฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่อลิเล็กทรอนิกส์ กฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล กฎหมายเกี่ยวกับการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ 1.กฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อรับรองสถานการณ์ทางข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอด้วยกระดาษ เป็นการรับรองนิติสัมพันธ์ จัดทำขึ้นอยู่ในรูปแบบของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การลงลายมือชื่อในข้อมูล การรับฟังพยานหลักฐานที่อยู่ในรูปแบบของข้อมูลลิเล็กทรอนิกส์ 2.กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่อลิเล็กทรอนิกส์ เพื่อรับรองการใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอด้วยการลงลายมือชื่อธรรมดา ส่งผลต่อความเชื่อมั่นมากขึ้นในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กำกับให้มีการดูแลการให้บริการเกี่ยวกับลายมือชื่อ 3.กฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน เพื่อก่อให้เกิดการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 78 ในการกระจายสารสนเทศให้ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน ช่วยลดความเหลื่อมหล้ำของสังคมเพื่อสนับสนุนให้ท้องมีศักภาพในการปกครองและนำไปสู้สังคมแห่งปัญญาและการเรียนรู้ 4.กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เพื่อก่อให้เกิดการรับรองสิทธิและให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลถูกประมวลผลเปิดเผยหรือเผยแพร่ถึงบุคลจำนวนมากได้ จนอาจก่อให้เกิดการนำข้อมูลนั้นไปใช้ในทางมิชอบอันเป็นการละเมิดต่อเจ้าของข้อมูล 5.กฎหมายเกี่ยวกับการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ กำหนดมาตรการทางอาญาในการลงโทษผู้กระทำผิดต่อระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบข้อมูลและเครือข่าย เป็นกลักประกันสิทธิภาพและกรคุ้มครอง 6.กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ กำหนดกลไกสำคัญทางกฎหมายในการรับรองระบบการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ระบบการชำระเงินของอิเล็กทรอกนิกส์ก่อให้เกิดต่อระบบการทำธุระกรรมทางการเงินและการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น อาชญากรรมทางคอมพพิวเตอร์
อาชญากรทางคอมพพิวเตอร์หลายรูปแบบ จัดออกเป็น 9 ประเภท 1.การขโมยข้อมูลทางอินเตอร์ 2.อาญชญากรเอาระบบการสื่อสารมาปกปิดความผิดของตน 3.การละเมิดสิทธิปลอบแปลงรูปร่าง 4.ใช้ข้อมูลแพร่ภาพที่ไม่แหมาะสม 5.การใช้คอมพิวเตอร์ฟอกเงิน 6.อันธพาลคอมพิวเตอร์ที่เข้าไปก่อกวน 7.หลอกลวงให้เข้าร่วมค้าขายหรือลงทุนปลอม 8.แทรกแซงข้อมูลแล้วนำมาเป็นประโยชน์ 9.ใช้คอมพิวเตอร์แอบโอนเงินบัญชีผู้อื่นเข้าตันเอง กรณีศึกษาอาชญากรรมและกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ กรณีที่1 กฎหมายกำหนดไว้อย่างชัดเจนว่า นายจ้างหรือผู้บังคับบัญชาสามารถเปิดดูและตรวจสอบอีเมลของลูกจ้างได้รวมทั้งดูแฟ้มข้อม฿ลต่างๆในฮาร์ดดิสก์คอมพิวเตอร์ของบริษัทได้ กรณีที่2 หากต้องการ copy รูปภาพหรือข้อความบนเว็บไซต์ของผ็อื่นมาใช้งานจำต้องขออณุญาตเจ้าของเสียก่อน กรณีที่3 การหมิ่นประมาททางอินเตอร์เน็ต สามารถฟ้องร้องได้ทั้งคดีอาญาและคดีแพ่ง การกล่าวทำให้เกิดความเสียหายแก่ชื่อเสียงเกียรติคุณ กรณีที่4 การทำhyperlink ไม่ให้ละเมิดลิขสิทธิ์ การอ้างอิงเว็ปไซต์ของผู้อื่นมาใส่ในเว็บของเราควรขออนุญาตเจ้าของสิทธิ์ให้เรียบร้อย กรณีที่5 โหลดโปรแกรมหรือเพลงทางอินเทอร์เน็ต กรณีที่6ชื้อโปรแกรมลิขสิทธิ์มา copy ตามกฎหมาย เรียกว่า ทำซ้ำ ซึ่งถือป็นการละเมิด แม้กฎหมายจะมีข้อยกเว้นให้ทำสำเนาโดยเจ้าของโปรแกรมทำได้ไม่ผิดกฎหมาย เพื่อการบำรุงหรือรักษาป้องกันการสูนหาย คือสำเนาได้เฉพาะ backup






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น