วันอังคารที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2560

บทที่ 5. โลกของเครือข่าย

บทที่ 5. โลกของเครือข่าย 


               เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย เครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปมาเชื่อมต่อกันโดยอาศัยอุปกรณ์ ทางด้านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ในการเชื่อมต่อกัน วัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล และใช้ทรัพยากร่วมกัน

เครือข่ายอินเทอร์เน็ต   คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์จำนวนมากที่เชื่อมต่อกันครอบคลุมไปทั่วโลก

เกณฑ์ชี้วัดความเร็วอินเทอร์เน็ต (ความกว้างของแถบความถี่ หรือ Bandwidth)
-สามารถตรวจสอบความเร็วในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตโดยแบ่งเป็น
-ความเร็วที่เครื่องลูกข่าย (Client) รับส่งข้อมูลกับเครื่องแม่ข่าย (Server) โดยระบบจะทำการเช็คความเร็วในการดาวน์โหลด (Download Speed) และความเร็วในการอัฟโหลด (Upload Speed)
-Bandwidth เป็นตัวบอกความเร็วของการส่งข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต

เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตในอดีตและปัจจุบัน 

               อินเทอร์เน็ตกำเนิดขึ้นเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2512 โดยพัฒนามาจาก ARPAnet เพื่อสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่คงความสามารถในการติดต่อสื่อสารถึงกันได้ เป็นเพียงเครือข่ายทดลอง ตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนงานวิจัยด้านการทหาร
ปี 2533 อาร์พาเน็ตยุติบทบาทลง และ สหรัฐ ฯ เปลี่ยนไปใช้ NSFNET และเครือข่ายอื่นๆ เป็นเครือข่ายbackbone แทนและยังได้ซ่อมเครือข่ายต่างๆ ทำให้เครือข่ายมีขนาดใหญ่ขึ้นจนเป็นเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในปัจจุบันนี้

ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

1.เครือข่ายระดับท้องถิ่น (LAN)
เป็นเครือข่ายระยะใกล้ๆ ที่ประกอบด้วยกลุ่มของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ใช้วานต่างๆ
2.เครือข่ายระดับเมือง (MAN)
เป็นเครือข่ายระยะกลาง ที่ประกอบด้วยบุ่มเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ที่เชื่อมต่อกันอยู่
3.เครือข่ายระยะไกล (WAN)
ทำการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่อยู่ห่างไกลกันเข้าด้วยกัน ซึ่งการเชื่อมต่ออาจจะเป็นการติดต่อสื่อสารกันในระดับประเทศ ข้ามทวีป หรือทั่วโลก

การใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต

1.จดหมายอิเล็กทรินิดส์ (E-mail)
2.เทลเน็ต (Telnet)
3.การถ่ายโอนข้อมูล (File Transfer Protocol,FTP)
4.ระบบส่งข้อความทันที (Instant messaging' Chat)
5.เว็บ (Hyper Text Transport  Protocol,HTTP)

อุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อ

         เป็นอุปกรณ์ที่ทำให้ผู้ใช้บริการสามารถเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของผู้ใช่ฝ้บริการเข้ากับอินเทอร์เน็ตได้
1.แผ่นวงจร LAN (LAN Card)
ใช้ในการต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ากับสายนำสัญญาณ
2.อุปกรณ์จัดเส้นทาง (Router)
ทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อเครือข่ายระยะไกลตั้งแต่สองเครือข่ายเข้าด้วยกัน
3.โมเด็ม (Modem)
ทำหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิทัลให้เป็นแอนะล็อก และแปลงสัญญาณเเอนาล็อกเป็นดิจิทัล
4.สายนำสัญญาณ หรือ สื่อกลาง (Media)
ในการรับส่งข่อมูลจะต้องอาศัยสื่อกลางในการส่งสัญญาณไฟฟ้า ซึ่งบรรจุข้อมูลอยู่จากจุดส่งไปยังจุดรับ

การเชื่อมต่อเข้าสู่เครือข่ายอินเทอร์เน็ต

1.การเชื่อมต่อด้วย Cable Modem
2การเชื่อมต่อด้วย ADSL Modem
3.การเชื่อมต่อด้วย Fibre Optic Router

ผู้ให้บริการเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต

ในประเทศไทยมีผู้ให้บริการอยู่ 2 ประเภท คือ
1.หน่วยงานราชการหรือสถาบันการศึกษา
2.บริษัทผู้ให้บริการเชิงพาณิชย์


ขั้นตอนในการเลือก ISP

1. ควรมีตู้ชุมสาย หรือจุดเชื่อมต่อสัญญาณใกล้บ้านเพราะความเสี่ยงที่สายจะขาดมีน้อย
2.พิจารณาความเร็วในการรับส่งข้อมูลเพียงพอกับความต้องการ
3.เปรียบเทียบค่าใช้จ่ายไม่เพียงเกินไป
4.พิจารณารูปแบบการติดตั้ง
5.เปรียบเทียบข้อเสนอพิเศษ และบริการหลังการขาย

จริยธรรมในการใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต

1.มีเหตุผลรู้จักใช้วิจารณญาณไตร่ตรองข้อมูลข่าวสาร
2.มีความซื่อสัตย์ ไม่เขียนข้อความที่เป็นเท็จ
3.หลีกเลี่ยงการทะเลาะกับผู้อื่นในอินเตอร์เน็ต
4.รู้จักกล่าวขอบคุณให้เครดิตหรือ อ้างอิงแหล่งข้อมูล
5.รู้จักข่มใจไม่เข้าเว็บไซต์ ที่เกิดความเสียหายและทุจริตทั้งปวง




บทที่ 4. โมเดิร์น.

บทที่ 4 โมเดิร์น.



ฮาร์ดเเวร์ และ ซอฟอวร์ 

         เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าประเภทหนึ่ง ที่ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำสิ่งต่างๆ ได้นั้น มีส่วนสำคัญ 2 ประการ
Hardware (ฮาร์ดแวร์)
Software (ซอฟแวร์)

Hardware (ฮาร์ดแวร์)  
        ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ที่สามารถมองเห็นเป็นรูปธรรม สามารถจับต้องได้ เช่น จอภาพ หน่วยประมวลผล (CPU) หน่วยความจำ เช่น (RAM) คีย์บอร์ เม้าส์ เครื่องพิมพ์ สาย LAN Router

Software (ซอฟแวร์) 
        หมายถึง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์

ความแตกต่างระหว่าง Software และ Hardware

ซอฟแวร์
เป็นชุดคำสั่ง สัมผัสไม่ได้(นามธรรม)
เมื่อทำงานบนฮาร์ดแวร์แล้ว จะสั่งให้ฮาร์ดแวร์เริ่มทำงานเพื่อคิดคำนวณและทำงานเฉพาะอย่าง
ไม่เสื่อมตามเวลา

ฮาร์ดแวร์
เป็นอุปกรณ์ สัมผัสได้ (รูปธรรม)
ใช้เก็บซอฟแวร์ และจำเป็นต้องมีเพื่อที่จะให้ซอฟแวร์ทำงาน
เสื่อมตามอายุการใช้งาน

ประเภทของซอฟแวร์

1.ซอฟต์แวร์ระบบ (System software)
2.ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application software)

ระบบปฏิบัติการ

•เป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมจัดการฮาร์ดแวร์
•ทำหน้าที่ในการเชื่อมการทำงานระหว่สงฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ประยุกต์
•จัดการกระบวนการใช้ทรัพยากรระหว่างซอฟต์แวร์ประยุกต์และฮาร์ดแวร์
•เป็นตัวกลางเชื่อมระหว่างผู้ใช้งานกับฮาร์ดแวร์
ผู้ใช้งาน --> ระบบปฏิบัติการ --> ฮาร์ดแวร์

ตัวอย่างของระบบปฏิบัติการของเครื่องแต่ละชนิด 
ชนิดของเครื่อง                    ระบบปฏิบัติการ

เครื่อง Mainframe.                   z/OS,z/NM,z/NSE
เครื่องคอมพิวเตอร์                   Windows,OS x,  
ส่วนบุคคล (PC).            
โทรศัพท์ สมาร์ทโฟน.             Android,ios,
Raspberry Pi.                           RISC OS

ประโยชน์ของระบบปฏิบัติการ 


•ใช้งานง่าย และรวดเร็ว
•ใช้งานโปรแกรมได้พร้อมกันหลายๆ โปรแกรมได้
•ผู้ผลิตโปรแกรมสำหรับใช้งานเฉพาะด้านทำงานง่ายขึ้น

ประวัติความเป็นมาของระบบปฏิบัติการ

       ช่วงแรกของระบบปฏิบัติการ (1955)
•ต้นทุนสูง
•ค่าแรงของคนมีราคาต่ำ
•ผู้ใช้เข้าถึงเครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้ทีละคน
•ประมวลผลแบบต่อเนื่อง
•เก็บหลายๆ งานในหน่วยความจำ
•สลับให้หน่วยประมวลผลมาทำงานแต่ละงาน
      ช่วงที่สองของระบบปฏิบัติการ (1970)
•ต้นทุนปานกลาง
•ค่าแรงของคนสูงขึ้น
•ระบบปฏิบัติการชื่อ Tss/360
•ทำงานบนเครื่องเมนเฟรม
•อนุญาตให้คนเข้าใช้เครื่องได้พร้อมๆ กัน
      ช่วงที่สามของระบบปฏิบัติการ (1981 -ปัจจุบัน)
•ต้นทุนสูง
•ค่าแรงของคนสูง
•IBM ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
•ไม่ซับซ้อนยุ่งยาก
•หลังจากนั้น Apple ได้แนะนำเครื่อง Macintosh
   •ระบบปฏิบัติดาร Mac
   •กราฟิกสำหรับผู้ใช้สั่งงาน
ช่วงที่สามของระบบปฏิบัติการ (1981 -ปัจจุบัน)
    •ปี 1983 Richard Stallman
•เริ่มโครงการ GNU
•เพื่อสร้างซอฟต์แวร์ที่สมบูรณ์
•แจกฟรี
ช่วงที่สามของระบบปฏิบัติการ (1981 -ปัจจุบัน)
    •เมื่อปี 1985 Intel
•ผลิตหน่วยประมวลผล
•โปรแกรมหลายๆ ทำงานได้พร้อมๆกัน
ช่วงที่สามของระบบปฏิบัติการ (1981 -ปัจจุบัน)
   •ในปี 1991 Linus Torvalds กับเพื่อนๆ
•นำเสนอคอร์เนลรุ่นแรก ของระบบปฏิบัติการ Linux

ระบบปฏิบัติการ Unix
ระบบปฏิบัติการ BSD
ระบบปฏิบัติการ Solaris
ระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Mac
ระบบปฏิบัติการ ios
ระบบปฏิบัติการ Android Os
ระบบปฏิบัติการ Windows Phone

การเลือกใช้ระบบปฏิบัติการให้เหมาะสมประเด็นต่างๆ ที่ควรคำนึงมีดังนี้ 

•เคยใช้ระบบปฏิบัติการมาบ้างหรือไม่ ?
•ใช้ซอฟต์แวร์อะไรบนระบบปฏิบัติการ ?
•ส่งเกตเพื่อนร่วมงาน ครอบครัว หรือ เพื่อนที่โรงเรียนใช้อะไร ?
•มีงบประมาณเท่าไหร่ ?

โปรแกรมอรรถประโยชน์ 

        คือโปรแกรม ที่ช่วยอำนวยความสะดวกต่างๆในการใช้คอมพิวเตอร์ ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เป็นโปรแกรมเสริมที่ต้องมีในเครื่องคอมพิวเตอร์
_ ประเภทการจัดแห้มข้อมูล
_ ประเภทการลบทิ้งโปรแกรม
_ ประเภทจัดการดิกส์
_ ประเภทรักษาหน้าจอ
_ โปรแกรมป้องกันไวรัส
_ โปรแกรมบรบอัดแฟ้ม

บทที่ 4. โมเดิร์นแอพ

ซอฟแวร์ประยุกต์พื้นฐาน บางครั้ง เรียกว่า ซอฟแวร์ประยุกต์อเนกประสงค์ หรือซอฟแวร์ประยุกต์ช่วยเพิ่มผลผลิต

•ซอฟแวร์ประยุกต์พื้นฐาน

-ซอฟต์ แวร์ ประมวลคำ
-ซอฟต์แวร์ตารางทำการ
-ซอฟต์แวร์นำเสนอ
-ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล
-ซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูล

ลิขสิทธิ์ และใบอนุญาตซอฟต์แวร์

"ลิขสิทธิ์"    หมายถึง สิทธิแต่ผู้เดียวที่กฎหมายรับรองให้ผู้สร้างสรรค์การกระทำใดๆ เกี่ยวกับงานที่ตนได้ทำขึ้น

"ใบอนุญาตซอฟต์แวร์"   คือ ข้ออนุญาตให้ใช้งานซอฟต์แวร์นั้นๆ โดยชอบธรรมตามกฎหมาย
ลิขสิทธิซอฟต์แวร์แบ่งตามลักษณะการคุ้มครอง
-ซอฟต์แวร์เชองพาณิชย์  เป็นซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ที่ผลิตขึ้นเพื่อจำหน่ายหรือมีวัตถุประสงค์เพื่อเชิงการค้า

-แชร์แวร์   มีลิขสิทธิมีความสามารถครบถ้วนหรืออาจจะตัดความสามารถบางส่วนออกไป จำกัดจำนวนข้อมูลในการใช้งาน สามารถนำไปทดลองใช้งานได้ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
-Ad ware. โปรแกรมที่ให้ใช้ฟรี แต่อาจมีโฆษณาติดม่กับซอฟต์แวร์มีการคุ้มครองจากลิขสิทธิ์อย่างเต็มที่
-ฟรีแวร์ เป็นซอฟต์แวร์ที่มีลิขสิทธิ์ที่ถูกสร้างขึ้นสามารถนำไปใช้ได้ฟรี ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ในเชิงการค้า
-ซอฟต์แวร์เสรี สามารถนำไปใช้แก้ไข ดัดแปลง พัฒนา  แบะจำหน่ายแจกจ่ายได้อย่างเสรี ไม่ค้องเสียค่าลิขสิทธิ

ความเป็นมาของการพัฒนา ซอฟต์แวร์เสรี 

       แนวคิดนี้เริ่มจากริชาร์ด สตอลแมน ต้องการแก้ไขซอฟต์แวร์ ที่มากับเครื่องพิมพ์ (Xerox 9700) ให้สามารถส่งข้อมูลให้ผู้ใช้เมื่อเครื่องพิมพ์งานเสร็จ แต่เขาไม่ได้รับอนุญาตการแก้ไขเพราะเรื่องลิขสิทธิ์ และการไม่มี Source code  จึง เริ่มพัฒนาระบบซอฟต์แวร์ใหม่ทั้งหมดด้วยตนเอง

ความสำคัญของ Open Source

-เพื่อหลีกเลี่ยงค่าลิขสิทธิ์
-ยิ่งมีกลุ่มใช้งาน Software ที่เป็น Open Source มากขึ้น ยิ่งทำให้มีผู้พัฒนามากขึ้น ทำใก้มีความสามารถและคุณภาพมากขึ้น

ข้อดีของ Open Source 

-ติดตั้งได้ไม่จำกัด
-สามารถก็อปปี้และเผยแพร่ได้
-ปรับปรุงให้ตรงกับความต้องการได้
-มีชุมชนให้ความช่วยเหลือมาก
-ใช้ทรัพยากรของเครื่องน้อย

ข้อเสียของ Open Source

การใช้โอเพนซอร์สมต้องขยันหมั่นอัพเดทอยู่ เสมอๆ ถ้าไม่อัพเดทจะพบว่าโปรแกรม
-อาจถูก hack
-ติด spam หรือ malware
-หน้าเว็บเปลี่ยนไปเป็นหน้าอื่น
-เข้าระบบไม่ได้อีก

จริยธรรมในการใช้ซอฟแวร์ 

-วัตถุประสงค์ในการใช้งาน
-เรามีสิทธิ์ติดตั้งใช้งานซอฟต์แวร์เหล่านั้นได้หรือไม่
-เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหา การละเมิดสิทธิ์ เนื่องจากซอฟต์แวร์ที่ใช้อยู่ภายใต้พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537






บทที่ 3.แกดเจ็ต

บทที่ 3. แกดเจ็ต


วัตถุประสงค์

1.รู้จักอุปกรณ์และเครื่องมือที่ทันสมัยในชีวิตประจำวัน
2.เข้าใจการเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
3.พิจารณาเลือกใช้อย่างคุ้มค่า
4.นำไปใช้ประโยชน์ในขีวิตแระจำวันได้
5.แนะนำผู้อื่นให้สามารถพิจารณาเทคโนโลยีที่เหมาะสม

   อุปกรณ์ใน Real World

           การใช้งานคอมพิวเตอร์ปัจจุบันมักพบว่าไม่ใช่คอมพิวเตอร์ เท่านั้น แต่ยังมีอุปกรณ์ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ร่วมกับ คอมพิวเตอร์ เพื่อเพิ่มความสะดวกสบายให้กับมนุษย์ ในการดำรงชีวิต เช่น นาฬิกาข้อมือ รองเท้ากีฬา เป็นต้น

 ความต้องการทางด้านการใช้งานระบบ 

1.เป็นมิตรกับผู้ใช้                                
2.ตอบสนองต่อทุกความต้องการของผู้ใช้      
3.ให้ความรู้สึกที่ดีต่อการใช้งาน          
4.รูปแบบการใช้งานไม่สับสน เข้าใจเกี่ยวกับการใช้งานในระบบได้ง่าย                      
5.สามารถเข้าถึงข้อมูลหรือคำสั่งในการทำงานได้ทันที

- มาตรฐานในการตรวจวัดความสามารถในการใช้งานของระบบ.  
   
- ระยะเวลาในการเรียนรู้                            
• พิจารณาจากระยะเวลาที่ผู้ใช้งานใช้ระบบ ความต้องการต่อฝึกอบรมใช้งาน หรือเรียนรู้งานในระบบ        - ความรวดเร็วในการประมวลผล.                    
 • โดยเปรียบเทียบความเร็วมาตรฐานจองการประมวลผลข้อมูล
- อัตราความผิดพลาดจากการใช้งาน.          
 • ทดสอบจำนวนครั้งที่เกิดความผิดพลาดจากการทดสอบระบบก่อนใช้งาน
- การเรียนรู้.                                            
  • ผู้ใช้จดจำการใช้ง่ายหากใช้บ่อยครั้ง ออกแบบเข้าใจง่าย                                    
- การวัดความพึงพอใจของผู้ใช้งาน                
  • วัดความพอใจ เช่น ให้ผู้ใช้แสดงความเห็นเกี่ยวกับระบบงานได้อิสระ  
      
          Gadget คืออะไร.   หมายถึง เครื่องมือขนาดเล็ก ที่มีความทันสมัย แปลกใหม่ ออกแบบมาเพื่อเป็นเครื่องมือที่ช่วยเสริมสร้างการทำงานของอุปกรณ์หลัก หรือเรียกอีกอย่างว่า "กิซมอส"        
Application gadgets

แอปพลิเคชั่นแกดเจ็ต

          คือซอฟแวร์ขนาดเล็ก ทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยเหลือในการดำเนินการต่างๆ เรียกว่า วิดเจ็ต ใช้งานซอฟต์แวร์บนสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ต ที่ต้องการผู้ช่วยในการแจ้งเตือนข้อมูล เช่น การเเจ้งสภาพอากาศ การแจ้งอีเมลล่าสุด ปฏิทิน
ตัวอย่างแอปพลิเคชันแกดเจ็ต แยกตามระบบปฏิบัติการดังนี้
1. ในระบบปฏิบัติการ Windows
2.  ในระบบปฏิบัติการ Mac

    แอปพลิเคชันแกดเจ็ตในระบบปฏิบัติการ Windows 

- มีไห้เลือกหลากหลาย เช่น ข้อมูลข่าว การนัดกมาย การแปลงเงิน การช็อปปิ้งออนไลน์
- พัฒนาไห้มีความสะดวกในการใช้งาน
- รูปแบบรองรับกับรูปแบบแท็บเล็ตกรือเครื่องที่มีจอสัมผัส
- มีซอฟแวร์แอปพลิเคชั่นให้เลือกใช้งานได้สะดวก
                                      
  แอปพลิเคชั่นแกดเจ็ตในระบบปฏิบัติการ Mac  

- ออกแบบส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้ได้ดีมาก ใช้งานง่าย รูปลักษณ์สวยงาม
- เป็นระบบปฏิบัติการที่เป็นผู้นำในการเริ่มมีการพัฒนาเครื่องมือช่วยเหลือผู้ใช้งาน แม็คอินทอช              
.Gadgets เกี่ยวกับอุปกรณ์ด้านเทคโนโลยี

      1. LittleBits Gadgets & Gizmos เป็นอุปกรณ์สำหรับเด็ก หรือ แม้กระทั้งผู้ใหญ่ เพื่อใช้สร้างฝันของตนเองช่วยทำให้สามารถประดิษฐ์วงจรอิเล็กทรอนิกส์ได้
     2. Apple Watch
คือคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นเพื่อให้ใช้งานดีขึ้น เพราะผู้ใช้สามารถที่จะพกติดตัวได้ตลอดเวลาโดยการสวมใส่
     3. Action cams
กล้องที่มีความละเอียดสูง อุปกรณ์สามารถเชื่อมต่อสมาร์ทโฟน และแอปพลิเคชั่นที่สอดคล้องกัน ที่จะช่วยให้สามารถแก้ไขภาพได้

Gadgets เกี่ยวกับอุปกรณ์ภายในบ้าน (Smart Home Gadgets)

1. WATER SAVING GADGETS FOR YOUR HOME
เป็นเครื่องซักผ้าด้วยเเนงเหวี่ยงของมนุษย์ เหมาะสำหรับการซักผ้าไม่มาก เป็นอุปกรณ์ที่อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดการใช้น้ำ ลดการใช้ไฟฟ้า สามารถพกพาไปใช้งานที่ใดก็ได้

2.เครื่องปรับอากาศอัจฉริยะ          
ตัวอย่าง เครื่องปรับอากาศที่อาศัยเทคโนโลยีจีพีเอส (GPS) สามารถควบคุมแอร์เปิดปิดแอร์จากที่ใดก็ได้ช่วยประหยัดพลังงาน

3.ตู้เย็นอัจฉริยะ
พัฒนาเพื่อใช้งานได้ในชีวิต ตรงกับแนวคิดดารออกแบบบ้านอัจฉริยะ และเทคโนโลยี loT

4.สมาร์ททีวี
ทีวีที่เพิ่มคุณสมบัติทางด้านเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเข้าไป เพิ่มประสิธิภาพ เช่น หน่วยความจำ หน่วยประมวลผลในตัวเครื่องที่สูงมากขึ้น มีแอปพลิเคชันหลากหลาย สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้

Gadgets เกี่ยวกับสุขภาพ 

1.Fitbit Force
คือ นาฬิกาข้อมือที่ใช้วัดการทำกิจกรรมในแต่ละวัน เช่น การเดิน การเคลื่อนไหว อัตราการเต้นของหัวใจ

2.Finis Neptune 
อุปกรณ์ฟังเพลงใต้น้ำ ประกอบไปด้วย ลำโพงสองข้าง ซึ่งจะนำไปหนีบกับแว่นตาว่ายน้ำ ส่วนที่เป็นตัวควบคุมการทำงานใช้หน้าจอ OLED คุณภาพสูงที่ผู้ใช้ต้องคาดเอาไว้ด้านหลังศรีษะ โดยจะแสดงชื่อ เพลง นักร้อง และโหมดการเล่น

3.แปรงสีหันอัจฉริยะ
ในการแปรงฟันทุกครั้งจะมีการเก็บบันทึกข้อมูล พฤติกรรมเกี่ยวกับการแปรงฟัน ระยะเวลา รูปแบบการแปรงฟัน และดูแลรายงานเกี่ยวกับสุขภาพในช่องปากและฟัน

Gadgets สำหรับผู้พิการ 

1.DOT
นาฬิกาดอท คือ แกดเจ็ตที่ถูกออกแบบมาเพื่อผู้พิการตาบอด เพื่อสามารถ รับทราบข้อมูล เช่น เวลา ข้อความสั้นโดยผ่านการสัมผัสหน้าจอนาฬิกา

2.axs map
AXS แผนที่ ซึ่งมีข้อมูลของเส้นทางลาดรถเข็นตามสถานที่ต่างๆ สามารถเข้าถึงทั้งในหน่วยงาน อาคารห้องน้ำ หรือ สถานที่สาธารณะ แผนที่จะแสดงข้อมูลเกี่ยวกับ สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ความช่วยเหลือของสถานที่

3.Kenguru Electric Car
"เคนกูรู" คือชื่อผลิตภัณฑ์ ยานพาหนะ หรือรถยนต์ไฟฟ้าส่วนบุคคล สำหรับผู้พิการหรือผู้ชรา มีขนาดเล็กกระทัดรัด

แนวคิดการใช้เเกดเจ็ตในชีวิตประจำวัน 

เหมาะสมกับโอกาสและสถานการณ์
ความเหมาะสมในการเลือกใช้เทคโนโลยีต่างๆ เป็นสิ่งที่เราต้องมีการเลือกใช้ให้เหมาะสมกับตนเอง จะต้องพิจารณาถึง
 1. รูปแบบการใช้งาน
 2. ความพร้อมของทุนทรัพย์
 3.ความเหมาะ

ปัญหาของการใช้โทรศัพท์มือถือในปัจจุบัน 
 •ใช้โทรศัพท์มือถือขณะขับรถอาจทำให้เกิดอุบัติเหตุได้
 •ใช้โทรศัพท์มือถือเล่นเกมส์เพื่อจับโปเกม่อนแล้วออกไปในยามวิกาลทำไห้เกิดเหตุร้ายได้
  •คุยโทรศัพท์กับเพื่อนมากเกินไปทำให้ละเลยการอ่านหนังสือหรือช่วยพ่อแม่ทำงานบ้าน ทำให้ขาดปฏิสัมพันธ์กับคนในครอบครัว สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย

โรคติดมือถือ 
1.ตื่นเช้าก็รับควานหามือถือ เพื่อเช็ค เฟสบุ๊ค,ไลน์,SMS
2.อาการหูแว่วได้ยินเสียงโทรศัพท์ หรือ SMS เข้ามาบ่อยๆ
3.จะกินข้าวต้องเอาโทรศัพท์มาถ่ายภาพ
4.เข้าห้องน้ำ เข้านอน ก็ต้องติดมือถือไว้กดดูตลอด
5.ว่างเมื่อไหร่ต้องยกขึ้นมาดู
6.ไม่มีใครโทรมาก็ขอให้โทรหาใครสักคนก็ยังดี
7.หงุดหงิดทุกทีที่ต้องปิดมือถือ

   หากใครมีอาการเหล่านี้ส่วนใหญ่ แสดงว่าติดมือถือ พยามลดการใช้งานมือถือลงสักพัก อาดารเหล่านี้น่าจะดีขึ้นอปล่อยไว้นานไม่ดี








วันจันทร์ที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2560

บทที่ 2. ไอทีคืออะไร


บทที่ 2. ไอทีคืออะไร



ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ

  •   เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) คือ การประยุกต์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์เพื่อนำมาจัดการสารสนเทศที่ต้องการ โดยอาศัยเทคโนโลยีสมัยใหม่
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศประกอบด้วยองค์ประกอบพื้นฐานที่สำคัญ 2 ส่วน ได้แก่

  • เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
  • เทคโนโลยีการสื่อสารคมนาคม
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (Computer Technology)
      คอมพิวเตอร์ หมายถึงอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่างหนึ่งที่มีความสามารถในการคำนวณอัตโนมัติตามชุดคำสั่ง โดยมีกระบวนการทำงานดังนี้




เทคโนโลยีสารสนเทศโทรคมนาคม

      ทำหน้าที่เผยแพร่ แลกเปลี่ยนสาสนเทศไปยังผู้ที่ต้องการในแหล่งต่างๆ  ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ถูกต้องครบถ้วนและทันสถานการณ์

ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศในที่นี้จะแบ่งตามขนาดออกเปผ็น 3 ขนาด ได้แก่
  1. ขนาดเล็ก เช่น สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต
  2. ขนาดกลาง เช่น อินเตอร์เน็ต
  3. ขนาดใหญ่ เช่น ระบบเครือข่าย การประชุมทางไกล
  • เทคโนโลยีขนาดเล็ก
คอมพิวเตอร์ (Computer)
  -ยุคแรก เครื่องมีขนาดใหญ่ ทำงานได้ช้า ความสามารถต่ำ และใช้พลังงานสูง
 - ปัจจุบัน มีการพัฒนาหน่วยความจำให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น แต่มีราคาถูกลง
สมาร์ทโฟน (Smart Phone)
 - เป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ มีความสามารถเพิ่มเติมนอกเหนือจากโทรศัพท์มือถือทั่วไป
 - มีลักษณะคล้ายเป็นคอมพิวเตอร์พกพา
 - ผู้ใช้งานสามารถติดตั้งโปรแกรมเสริมสำหรับเพิ่มความสามารถของโทรศัพท์ได้ด้วยตนเอง
แท็บแล็ต (Tablet)
- เป็นเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่สามารถพกพาเคลื่อนที่ได้
- ใช้หน้าจอสัมผัสในการทำงาน
- พัฒนาให้มีความสามารถใกล้เคียงกับคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก
- มีขนาดไม่ใหญ่มาก น้ำหนักเบา สามารถถือได้ด้วยมือเดียวสะดวกต่อการพกพา
GPS 
- เป็นระบบที่ใช้แสดงตำแหน่งบนพื้นโลก
- โดยกำหนดตำแหน่งบนพื้นโลกผ่านดาวเทียม
Smart Card 
- เป็นบัตรพลาสติกที่มีชิป (IC) ติดหรือฝังอยู่ในตัวบัตรพลาสติก
- มีขนาดเท่ากับบัตรเครดิต
- ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
- ประมวลผลภายในตัวเองโดยวิธีการเข้ารหัสตามมาตรฐานเพื่อให้ระบบมีความปลอดภัยสูงขึ้น


  • เทคโนโลยีสารสนเทศขนาดกลาง 

อินเตอร์เน็ต (Internet)
- เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงไปทั่วโลก
- มีผู้ใช้งานหลายล้านคน
- ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
- สามารถติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
- ปัจจุบันมีการให้บริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหลายรูปแบบ เช่น 3G, 4G เป็นต้น
โทรทัศน์ตามสาย ผ่านดาวเทียม ไอพีทีวี  
- การส่งสัญญาณโทรทัศน์ผ่านสื่อต่างๆ ไปยังผู้ชม ทำให้ข้อมูลข่าวสารสามารถแพร่ไปได้อย่างรวดเร็วและครอบคลุมพื้นที่กว้างขึ้น
- ผู้ชมสามารถเข้าถึงข้อมูลจากสื่ออื่นๆ ได้มากขึ้น
กล้องวงจรปิด 
- เป็นระบบที่ใช้เพื่อการรักษาความปลอดภัย
- ใช้เพื่อสอดส่องดูแลเหตุการณ์ต่างๆ ที่นอกเหนือจากความปลอดภัย

  • เทคโนโลยีสารสนเทศขนาดใหญ่
ระบบเครือข่าย (Networking System)
- เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้ได้ภายในระยะทางที่กำหนด
- มีส่วนช่วยเพิ่มศักยภาพในการทำงานของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลให้สูงขึ้น
- ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน การใช้ข้อมูลร่วมกัน และการเพิ่มความเร็วในการติดต่อสื่อสาร
การประชุมทางไกล (Teleconference) 
- เป็นการนำเทคโนโลยีสาขาต่างๆ เช่นคอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ และระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตผสมผสาน
- เพื่อสนับสนุนในการประชุมมีประสิทธิภาพ
- ประหยัดเวลาในการเดินทาง
การใช้คอมพิวเตอร์ในการฝึกอบรม
-การนำเอาระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการฝึกอบรมในด้านต่างๆ
-การเรียนการสอนที่เรียกว่า "คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน (CAI)"
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ (CAD)
-เป็นการนำเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยในการออกแบบ เช่น
•ผลิตภัณฑ์
•รูปแบบหีบห่อของผลิตภัณฑ์
•การออกแบบวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม
•ช่วยลดต้นทุนการดำเนินงานในการออกแบบ
เทคโนโลยีบ่งชี้ด้วยคลื่นความถี่วิทยุ (RFID)
•เป็นระบบระบุลักษณะของวัตถุด้วยคลื่นความถี่วิทยุ
•มีลักษณะเป็นป้ายอิเล็กทรอนิกส์ (RFID Tag)
•สามารถอ่านค่าได้โดยผ่านคลื่นวิทยุจากระยะห่าง
QR Code
•เป็นบาร์โค้ด 2 มิติ
•สามารถเก็บข้อมูลต่างๆได้
•สามารถถูกอ่านได้อย่างรวดเร็ว
•ได้จดทะเบียนลิขสิทธิ์ชื่อ "QR Code"

บทบาทของระบบสารสารสนเทศ

            ระบบสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากในการดำเนินชีวิตของเรา โดยสามารถแบ่งตามบทบาทของระบบสารสนเทศได้ดังนี้

-ระบบสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
ด้านการศึกษา
•การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
•ระบบการศึกษาทางไกล
•การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์

ด้านการเงินการธนาคาร
•ระบบทำธุรกรรมออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
•ระบบชำระค่าน้ำค่าไฟฟ้า

ด้านการสาธารณสุข
•โครงการแพทย์ทางไกล โดยใช้การส่งสัญญาณผ่านสื่อโทรคมนาคม
•มีการพัฒนาหุ่นยนต์เพื่อเฝ้าดูแลผู้สูงอายุ

ด้านความบันเทิงและบริการทั่วไป
•เพื่อให้ลูกค้าเข้าถึงบริการของแต่ละธุรกิจได้ง่ายขึ้น
•ประหยัดเวลา ค่าใช้จ่ายในการเดินทางของลูกค้า
•เป็นการเพิ่มช่องทางการสร้างรายได้ให้กับธุรกิจ

ด้านหน่วยงานรัฐบาล
•ระบบภาษีออนไลน์

-ระบบสารสนเทศในมหาวิทยาลัย
ระบบบริการการศึกษา หรือระบบทะเบียน
•พัฒนาขึ้นมาเพื่อรองรับการใช้งานของนิสิตในด้านข้อมูลการศึกษา

ระบบหอสมุด
•พัฒนาขึ้นมาเพื่อรองรับการใช้งานของนิสิตในด้านการค้นหาสารสนเทศต่างๆ

-ระบบสารสนเทศในในภาคธุรกิจ
ระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กร
ลักษณะของระบบสารสนเทศก่อนการนำระบบ ERP มาใช้ในองค์กร
- การขาดการประสานรวมกันของระบบงาน
-ข้อมูลซ้ําซ้อน และขาดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
- การขาดความรวดเร็วในการตอบสนอง -ขาดความสามารถด้าน Globalization -ความไม่ยืดหยุ่นของระบบ
•การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ CRM
•บริการโทรศัพท์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต

ทิศทางในอนาคตของเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็น 3 ด้านดังนี้

1. การลดขนาดอุปกรณ์ด้านคอมพิวเตอร์ (Miniaturization)
2. ความเร็วในการทํางาน (Speed) 3. ความสามารถในการซื้อ (Affordability)


ทิศทางของเทคโนโลยีด้านโทรคมนาคม

1. ด้านการเชื่อมต่อ (Connectivity) 2. ด้านการสื่อสารแบบโต้ตอบ (Interactivity) 3. ด้านสื่อประสม (Multimedia)

ทิศทางของเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถแบ่งออกเป็น 4 ด้านดังนี้ 1. การหลอมรวมเทคโนโลยี (Convergence) 2. การพกพาและเคลื่อนที่ (Portability and Mobility) 3. เทคโนโลยีส่วนบุคคล (Personalization) 4. การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (Cloud Computing


จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

คุณธรรมจริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ จะกล่าวถึงใน 4 ประเด็น ที่รู้จักกันในลักษณะตัวย่อว่า PAPAประกอบด้วย

1. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy) 2. ความถูกต้อง (Information Accuracy) 3. ความเป็นเจ้าของ (Information Property) 4. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility)





วันอาทิตย์ที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2560

บทที่ 1. เทคโนโลยีล้ำๆ รอบตัวเรา



บทที่1. เทคโนโลยีล้ำๆ รอบตัวเรา



วัตถุประสงค์

1. ทำความคุ้นเคยเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน
2.สามารถยกตัวอย่างเทคโนโลยีได้
3.สามารถบอกประโยชน์และโทษของเทคโนโลยีสารสนเทศได้

เทคโนโลยีรอบตัวเรา

  • ตื่นนอน Smart sleep system
  •  เตรียมเดินทาง:พยากรณ์อากาศ และข่าวสาร
  • เดินทาง GPS
  • เข้าหอพัก Smartcard , RFID
  • Smart Home
  • เข้ามหาวิทยาลัย E-learning
  • พักผ่อน Smart App
  • ออกกำลังกาย Wearable Tech
  • ช้อปปิ้ง E-commerce
  • สุขภาพ E-Hospital

ประโยชน์และโทษของเทคโนโลยี

ตัวอย่างประโยชน์ของเทคโนโลยี
  • ติดต่อสื่อสารกันได้สะดวกรวดเร็ว
  • มีข้อมูลจำนวนมหาศาลในระบบ เรียกใช้ได้สะดวก
  • ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลาระยะทาง
ตัวอย่างโทษของเทคโนโลยี

  • เปลืองทรัพยากร เช่นไฟฟ้า
  • ส่งเสริมวัตถุนิยม
  • ขาดการออกกำลังกาย
  • ทำให้เกิดปัญหาการว่างงานน เพราะใช้เครื่องจักรแทน
  • มีโลกส่วนตัวสูง ขาดการติดต่อกับผู้อื่น
  • เกิดช่องว่างระหว่างผู้สูงอายุกับเด็ก