เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าประเภทหนึ่ง ที่ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำสิ่งต่างๆ ได้นั้น มีส่วนสำคัญ 2 ประการ
Hardware (ฮาร์ดแวร์)
Software (ซอฟแวร์)
Hardware (ฮาร์ดแวร์)
ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ที่สามารถมองเห็นเป็นรูปธรรม สามารถจับต้องได้ เช่น จอภาพ หน่วยประมวลผล (CPU) หน่วยความจำ เช่น (RAM) คีย์บอร์ เม้าส์ เครื่องพิมพ์ สาย LAN Router
Software (ซอฟแวร์)
หมายถึง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์
ความแตกต่างระหว่าง Software และ Hardware
ซอฟแวร์
เป็นชุดคำสั่ง สัมผัสไม่ได้(นามธรรม)
เมื่อทำงานบนฮาร์ดแวร์แล้ว จะสั่งให้ฮาร์ดแวร์เริ่มทำงานเพื่อคิดคำนวณและทำงานเฉพาะอย่าง
ไม่เสื่อมตามเวลา
ฮาร์ดแวร์
เป็นอุปกรณ์ สัมผัสได้ (รูปธรรม)
ใช้เก็บซอฟแวร์ และจำเป็นต้องมีเพื่อที่จะให้ซอฟแวร์ทำงาน
เสื่อมตามอายุการใช้งาน
ประเภทของซอฟแวร์
1.ซอฟต์แวร์ระบบ (System software)
2.ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application software)
ระบบปฏิบัติการ
•เป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมจัดการฮาร์ดแวร์
•ทำหน้าที่ในการเชื่อมการทำงานระหว่สงฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ประยุกต์
•จัดการกระบวนการใช้ทรัพยากรระหว่างซอฟต์แวร์ประยุกต์และฮาร์ดแวร์
•เป็นตัวกลางเชื่อมระหว่างผู้ใช้งานกับฮาร์ดแวร์
ผู้ใช้งาน --> ระบบปฏิบัติการ --> ฮาร์ดแวร์
ตัวอย่างของระบบปฏิบัติการของเครื่องแต่ละชนิด
ชนิดของเครื่อง ระบบปฏิบัติการ
เครื่อง Mainframe. z/OS,z/NM,z/NSE
เครื่องคอมพิวเตอร์ Windows,OS x,
ส่วนบุคคล (PC).
โทรศัพท์ สมาร์ทโฟน. Android,ios,
Raspberry Pi. RISC OS
ประโยชน์ของระบบปฏิบัติการ
•ใช้งานง่าย และรวดเร็ว
•ใช้งานโปรแกรมได้พร้อมกันหลายๆ โปรแกรมได้
•ผู้ผลิตโปรแกรมสำหรับใช้งานเฉพาะด้านทำงานง่ายขึ้น
ประวัติความเป็นมาของระบบปฏิบัติการ
ช่วงแรกของระบบปฏิบัติการ (1955)
•ต้นทุนสูง
•ค่าแรงของคนมีราคาต่ำ
•ผู้ใช้เข้าถึงเครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้ทีละคน
•ประมวลผลแบบต่อเนื่อง
•เก็บหลายๆ งานในหน่วยความจำ
•สลับให้หน่วยประมวลผลมาทำงานแต่ละงาน
ช่วงที่สองของระบบปฏิบัติการ (1970)
•ต้นทุนปานกลาง
•ค่าแรงของคนสูงขึ้น
•ระบบปฏิบัติการชื่อ Tss/360
•ทำงานบนเครื่องเมนเฟรม
•อนุญาตให้คนเข้าใช้เครื่องได้พร้อมๆ กัน
ช่วงที่สามของระบบปฏิบัติการ (1981 -ปัจจุบัน)
•ต้นทุนสูง
•ค่าแรงของคนสูง
•IBM ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
•ไม่ซับซ้อนยุ่งยาก
•หลังจากนั้น Apple ได้แนะนำเครื่อง Macintosh
•ระบบปฏิบัติดาร Mac
•กราฟิกสำหรับผู้ใช้สั่งงาน
ช่วงที่สามของระบบปฏิบัติการ (1981 -ปัจจุบัน)
•ปี 1983 Richard Stallman
•เริ่มโครงการ GNU
•เพื่อสร้างซอฟต์แวร์ที่สมบูรณ์
•แจกฟรี
ช่วงที่สามของระบบปฏิบัติการ (1981 -ปัจจุบัน)
•เมื่อปี 1985 Intel
•ผลิตหน่วยประมวลผล
•โปรแกรมหลายๆ ทำงานได้พร้อมๆกัน
ช่วงที่สามของระบบปฏิบัติการ (1981 -ปัจจุบัน)
•ในปี 1991 Linus Torvalds กับเพื่อนๆ
•นำเสนอคอร์เนลรุ่นแรก ของระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Unix
ระบบปฏิบัติการ BSD
ระบบปฏิบัติการ Solaris
ระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Mac
ระบบปฏิบัติการ ios
ระบบปฏิบัติการ Android Os
ระบบปฏิบัติการ Windows Phone
การเลือกใช้ระบบปฏิบัติการให้เหมาะสมประเด็นต่างๆ ที่ควรคำนึงมีดังนี้
•เคยใช้ระบบปฏิบัติการมาบ้างหรือไม่ ?
•ใช้ซอฟต์แวร์อะไรบนระบบปฏิบัติการ ?
•ส่งเกตเพื่อนร่วมงาน ครอบครัว หรือ เพื่อนที่โรงเรียนใช้อะไร ?
•มีงบประมาณเท่าไหร่ ?
โปรแกรมอรรถประโยชน์
คือโปรแกรม ที่ช่วยอำนวยความสะดวกต่างๆในการใช้คอมพิวเตอร์ ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เป็นโปรแกรมเสริมที่ต้องมีในเครื่องคอมพิวเตอร์
_ ประเภทการจัดแห้มข้อมูล
_ ประเภทการลบทิ้งโปรแกรม
_ ประเภทจัดการดิกส์
_ ประเภทรักษาหน้าจอ
_ โปรแกรมป้องกันไวรัส
_ โปรแกรมบรบอัดแฟ้ม
บทที่ 4. โมเดิร์นแอพ
•ซอฟแวร์ประยุกต์พื้นฐาน
-ซอฟต์ แวร์ ประมวลคำ
-ซอฟต์แวร์ตารางทำการ
-ซอฟต์แวร์นำเสนอ
-ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล
-ซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูล
ลิขสิทธิ์ และใบอนุญาตซอฟต์แวร์
"ลิขสิทธิ์" หมายถึง สิทธิแต่ผู้เดียวที่กฎหมายรับรองให้ผู้สร้างสรรค์การกระทำใดๆ เกี่ยวกับงานที่ตนได้ทำขึ้น
"ใบอนุญาตซอฟต์แวร์" คือ ข้ออนุญาตให้ใช้งานซอฟต์แวร์นั้นๆ โดยชอบธรรมตามกฎหมาย
ลิขสิทธิซอฟต์แวร์แบ่งตามลักษณะการคุ้มครอง
-ซอฟต์แวร์เชองพาณิชย์ เป็นซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ที่ผลิตขึ้นเพื่อจำหน่ายหรือมีวัตถุประสงค์เพื่อเชิงการค้า
-แชร์แวร์ มีลิขสิทธิมีความสามารถครบถ้วนหรืออาจจะตัดความสามารถบางส่วนออกไป จำกัดจำนวนข้อมูลในการใช้งาน สามารถนำไปทดลองใช้งานได้ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
-Ad ware. โปรแกรมที่ให้ใช้ฟรี แต่อาจมีโฆษณาติดม่กับซอฟต์แวร์มีการคุ้มครองจากลิขสิทธิ์อย่างเต็มที่
-ฟรีแวร์ เป็นซอฟต์แวร์ที่มีลิขสิทธิ์ที่ถูกสร้างขึ้นสามารถนำไปใช้ได้ฟรี ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ในเชิงการค้า
-ซอฟต์แวร์เสรี สามารถนำไปใช้แก้ไข ดัดแปลง พัฒนา แบะจำหน่ายแจกจ่ายได้อย่างเสรี ไม่ค้องเสียค่าลิขสิทธิ
ความเป็นมาของการพัฒนา ซอฟต์แวร์เสรี
แนวคิดนี้เริ่มจากริชาร์ด สตอลแมน ต้องการแก้ไขซอฟต์แวร์ ที่มากับเครื่องพิมพ์ (Xerox 9700) ให้สามารถส่งข้อมูลให้ผู้ใช้เมื่อเครื่องพิมพ์งานเสร็จ แต่เขาไม่ได้รับอนุญาตการแก้ไขเพราะเรื่องลิขสิทธิ์ และการไม่มี Source code จึง เริ่มพัฒนาระบบซอฟต์แวร์ใหม่ทั้งหมดด้วยตนเอง
ความสำคัญของ Open Source
-เพื่อหลีกเลี่ยงค่าลิขสิทธิ์
-ยิ่งมีกลุ่มใช้งาน Software ที่เป็น Open Source มากขึ้น ยิ่งทำให้มีผู้พัฒนามากขึ้น ทำใก้มีความสามารถและคุณภาพมากขึ้น
ข้อดีของ Open Source
-ติดตั้งได้ไม่จำกัด
-สามารถก็อปปี้และเผยแพร่ได้
-ปรับปรุงให้ตรงกับความต้องการได้
-มีชุมชนให้ความช่วยเหลือมาก
-ใช้ทรัพยากรของเครื่องน้อย
ข้อเสียของ Open Source
การใช้โอเพนซอร์สมต้องขยันหมั่นอัพเดทอยู่ เสมอๆ ถ้าไม่อัพเดทจะพบว่าโปรแกรม
-อาจถูก hack
-ติด spam หรือ malware
-หน้าเว็บเปลี่ยนไปเป็นหน้าอื่น
-เข้าระบบไม่ได้อีก
จริยธรรมในการใช้ซอฟแวร์
-วัตถุประสงค์ในการใช้งาน
-เรามีสิทธิ์ติดตั้งใช้งานซอฟต์แวร์เหล่านั้นได้หรือไม่
-เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหา การละเมิดสิทธิ์ เนื่องจากซอฟต์แวร์ที่ใช้อยู่ภายใต้พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น